Main menu

#htmlcaption1 Kanemori Red Brick Warehouse Former Hokkaido Govt.Bldg. Usuzan Ropeway Otaru Canal

low-column

Friday, July 24, 2020

排気(ไอเสียรถยนต์) #2

การกรองไอเสีย (Catalytic)

จะอาศัยการเร่งปฏิกริยาทางเคมี (化学反応)
1.Oxidation (酸化) การรวมตัวของออกซิเจน
2.Reduction (還元) การสูญเสียออกซิเจน

อ้างอิง: 酸化

มีหลักการในการจัดการกับสารพิษดังต่อไปนี้
1. ไฮโดรคาร์บอน (CH)   อาศัยปฏิกริยา Oxidation ให้เกิดการรวมตัวของออกซิเจน
        C + O2   =   CO2   คาร์บอนไดออกไซด์
        H2 + O   =   H2O   น้ำ (ไอน้ำ)

2. คาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO)   อาศัยปฏิกริยา Oxidation ให้เกิดการรวมตัวของออกซิเจน
        C O+ O   =   CO2   คาร์บอนไดออกไซด์

3. ไนโตรเจนออกไซด์ (NO)   อาศัยปฏิกริยา Reduction ให้เกิดการแยกตัวของออกซิเจน
       N <----> O   =   N   ก๊าซไนโตรเจน
                                 O   ก๊าซออกซิเจน



排気 ไอเสียรถยนต์

排気 ไอเสียรถยนต์

เกิดจากการเผาไหม้ของน้ำมันเชื้อเพิง
ซึ่งน้ำมันเชื้อเพลิงก็มาจาก "ปิโตเลี่ยม" (石油)

ปิโตเลี่ยม มีทั้ง 3สถานะ คือ  ของแข็ง  ของเหลว และก็าซ
มีธาตุองค์ประกอบหลักๆ คือ คาร์บอน, ไฮโดรเจน
และอาจมีอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ

ไอเสียรถยนต์มีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกายซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์(不完全燃焼)
 1. ไฮโดรคาร์บอน  CH   (炭化水素)
 2. คาร์บอนมอนนอกไซด์  CO  (一酸化炭素)
 3. ไนโตรเจนออกไซด์  NO   (窒素酸化)

         つづく


Wednesday, July 22, 2020

酸化(Oxidation)#2

ย้อนกลับไปเรื่องของงานเสีย Scale หลังการHeat Treatment
ก็คงเป็นหลักการของ Oxidation ก็คือการที่
    เหล็กไปรวมตัวกับออกซิเจน Fe+O   = FeO ไอออนออกไซด์  (酸化鉄)

แต่อย่าเพิ่งเข้าใจผิดว่ามัน คือสนิมนะ  ยังไม่ใช่!!

จนกระทั่งระยะเวลาผ่านไป สัมผัสกับน้ำ ความชื้น
ก็ถึงจะกลายเป็น  "สนิมเหล็ก"  ชื่อทางเคมี  "ไฮเดรตเฟอริกออกไซด์"
Fe2O3 - H2O  (水和酸化鉄  すいわさんかてつ)
หรือเรียกง่ายๆว่า  錆び  ชื่อข้างบนอย่าไปจำ




酸化(Oxidation)

เมื่อวานประชุมกับMaker Heat Treatment เนื่องจากงานมีปัญหา Scale หลังจากHeat Treatment ซึ่งก็น่าจะเป็น Oxide ซึ่งภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า  酸化物

อ้างอิง: เรื่องเล็กๆ

แต่ก็อยากให้เข้าใจกันก่อนว่า 酸化(Oxidation) มันคืออะไร 
คือ ปฏิกริยาทางเคมีที่สสารสูญเสียอิเล็กตรอนหรือสูญเสียไฮโดรเจนไป
 หรือการที่สสารรวมตัวเข้ากับออกซิเจน(化合)

อิเล็กตรอนจะเคลื่อนย้ายได้ทั้งในรูปของอิเล็กตรอนโดยตรงหรือ
เคลื่อนย้ายในรูปของออกซิเจนหรือไฮโดรเจน


ยกตัวอย่างเช่น
 1.การเกิดสนิม (Fe2O3)
 2.การเผาไหม้ของไม้ ถ่านหิน ปิโตเลียม (สารประกอบอินทรีย์ 有機化合物)
 มีองค์ประกอบธาตุหลัก คือ คาร์บอน  ไฮโดรเจน หรือ ไฮโดรคาร์บอน  CH(炭化水素)
 เมื่อถูกเผาไหม้จะเกิดปฏิกริยาทางเคมีฯ
            C + O2   =  CO2  ก็าซคาร์บอนไดออกไซด์
   C + O3   =  CO3  เขม่า 
            H2+O    = H2O  ไอน้ำ
                                                      つづく



         



Wednesday, July 15, 2020

เทคนิคการฝึกอ่านนสพ.


กากของเสีย(โรงหล่อ)#2

การกำจัดทรายเก่า 廃砂の処理

ด้านการจัดการคือ
1) เราต้องมีการคัดแยก    分別徹底
2) เราต้องมีการป้องกันการปะปน   異物混入の防止

สำหรับวิธีการจะมี 3ข้อหลักๆดังนี้
1) นำไปใช้ประโยชน์   有効活用  เช่น นำไปใช้เป็น
    - セメント原料
 - 道路用骨材(路盤材、アスファルト混合材)
 -土壌改良 ปรับปรุงดิน
 -れんが原料
2) นำไปRecycle  再生
3) ฝังกลบ  埋立処理


กากของเสีย(โรงหล่อ)

วันนี้จะขอพูดถึง "กากของเสีย" (廃棄物)ที่มาจากโรงหล่อ
พะเอินทำงานอยู่โรงหล่อก็เลยอยากจะอธิบายให้ฟัง มีหลักๆดังนี้

1. 廃砂 はいすな ทรายเก่า(ถูกใช้แล้ว)
  - เกิดจากทรายที่Overflow (余剰砂 よじょうすな)จากระบบผสมทราย
 เนื่องจากมีการเติมทรายใหม่ (新砂 しんすな)
  - เกิดจากกระบวนการ Shotblast (ทำความสะอาดทรายที่ติดอยู่ที่ผิวงาน)   持出し砂
 ทรายส่วนนี้จะมีเหล็ก(鉄分)ผสมอยู่ ซึ่งสามารถคัดแยกออกจากกันได้
 โดยใช้แม่เหล็ก (磁選 じせん)
 - เกิดจากทรายที่หกหล่นอยู่ตามพื้นในไลน์การผลิต (こぼれ砂)

2.スラグ(ノロ)กากตะกรันจากกระบวนการหลอม (Slag)
3.集塵ダスト ฝุ่นจากระบบDust Collector (集塵装置 しゅうじんそうち)
4.耐火物くず เศษจากวัตถุดิบทนไฟ
5.อื่นๆ       เช่น เศษไส้แบบ (シェル殻 しぇるがら) ฯลฯ

                                                                                        つづく