การกรองไอเสีย (Catalytic)
จะอาศัยการเร่งปฏิกริยาทางเคมี (化学反応)
1.Oxidation (酸化) การรวมตัวของออกซิเจน
2.Reduction (還元) การสูญเสียออกซิเจน
อ้างอิง: 酸化
มีหลักการในการจัดการกับสารพิษดังต่อไปนี้
1. ไฮโดรคาร์บอน (CH) อาศัยปฏิกริยา Oxidation ให้เกิดการรวมตัวของออกซิเจน
C + O2 = CO2 คาร์บอนไดออกไซด์
H2 + O = H2O น้ำ (ไอน้ำ)
2. คาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO) อาศัยปฏิกริยา Oxidation ให้เกิดการรวมตัวของออกซิเจน
C O+ O = CO2 คาร์บอนไดออกไซด์
3. ไนโตรเจนออกไซด์ (NO) อาศัยปฏิกริยา Reduction ให้เกิดการแยกตัวของออกซิเจน
N <----> O = N ก๊าซไนโตรเจน
O ก๊าซออกซิเจน
ล่ามญี่ปุ่น LamYeepun (日本語通訳) มะ..มาช่วยกันแชร์ภาษาญี่ปุ่น 《ผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ณ.ที่นี้ด้วย》
Main menu
dropdown
low-column
Friday, July 24, 2020
排気 ไอเสียรถยนต์
排気 ไอเสียรถยนต์
เกิดจากการเผาไหม้ของน้ำมันเชื้อเพิง
ซึ่งน้ำมันเชื้อเพลิงก็มาจาก "ปิโตเลี่ยม" (石油)
ปิโตเลี่ยม มีทั้ง 3สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก็าซ
มีธาตุองค์ประกอบหลักๆ คือ คาร์บอน, ไฮโดรเจน
และอาจมีอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ
ไอเสียรถยนต์มีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกายซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์(不完全燃焼)
1. ไฮโดรคาร์บอน CH (炭化水素)
2. คาร์บอนมอนนอกไซด์ CO (一酸化炭素)
3. ไนโตรเจนออกไซด์ NO (窒素酸化)
つづく
เกิดจากการเผาไหม้ของน้ำมันเชื้อเพิง
ซึ่งน้ำมันเชื้อเพลิงก็มาจาก "ปิโตเลี่ยม" (石油)
ปิโตเลี่ยม มีทั้ง 3สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก็าซ
มีธาตุองค์ประกอบหลักๆ คือ คาร์บอน, ไฮโดรเจน
และอาจมีอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ
ไอเสียรถยนต์มีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกายซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์(不完全燃焼)
1. ไฮโดรคาร์บอน CH (炭化水素)
2. คาร์บอนมอนนอกไซด์ CO (一酸化炭素)
3. ไนโตรเจนออกไซด์ NO (窒素酸化)
つづく
Wednesday, July 22, 2020
酸化(Oxidation)#2
ย้อนกลับไปเรื่องของงานเสีย Scale หลังการHeat Treatment
ก็คงเป็นหลักการของ Oxidation ก็คือการที่
เหล็กไปรวมตัวกับออกซิเจน Fe+O = FeO ไอออนออกไซด์ (酸化鉄)
แต่อย่าเพิ่งเข้าใจผิดว่ามัน คือสนิมนะ ยังไม่ใช่!!
จนกระทั่งระยะเวลาผ่านไป สัมผัสกับน้ำ ความชื้น
ก็ถึงจะกลายเป็น "สนิมเหล็ก" ชื่อทางเคมี "ไฮเดรตเฟอริกออกไซด์"
Fe2O3 - H2O (水和酸化鉄 すいわさんかてつ)
หรือเรียกง่ายๆว่า 錆び ชื่อข้างบนอย่าไปจำ
ก็คงเป็นหลักการของ Oxidation ก็คือการที่
เหล็กไปรวมตัวกับออกซิเจน Fe+O = FeO ไอออนออกไซด์ (酸化鉄)
แต่อย่าเพิ่งเข้าใจผิดว่ามัน คือสนิมนะ ยังไม่ใช่!!
จนกระทั่งระยะเวลาผ่านไป สัมผัสกับน้ำ ความชื้น
ก็ถึงจะกลายเป็น "สนิมเหล็ก" ชื่อทางเคมี "ไฮเดรตเฟอริกออกไซด์"
Fe2O3 - H2O (水和酸化鉄 すいわさんかてつ)
หรือเรียกง่ายๆว่า 錆び ชื่อข้างบนอย่าไปจำ
酸化(Oxidation)
เมื่อวานประชุมกับMaker Heat Treatment เนื่องจากงานมีปัญหา Scale หลังจากHeat Treatment ซึ่งก็น่าจะเป็น Oxide ซึ่งภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า 酸化物
อ้างอิง: เรื่องเล็กๆ
แต่ก็อยากให้เข้าใจกันก่อนว่า 酸化(Oxidation) มันคืออะไร
คือ ปฏิกริยาทางเคมีที่สสารสูญเสียอิเล็กตรอนหรือสูญเสียไฮโดรเจนไป
หรือการที่สสารรวมตัวเข้ากับออกซิเจน(化合)
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนย้ายได้ทั้งในรูปของอิเล็กตรอนโดยตรงหรือ
เคลื่อนย้ายในรูปของออกซิเจนหรือไฮโดรเจน
ยกตัวอย่างเช่น
1.การเกิดสนิม (Fe2O3)
2.การเผาไหม้ของไม้ ถ่านหิน ปิโตเลียม (สารประกอบอินทรีย์ 有機化合物)
มีองค์ประกอบธาตุหลัก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน หรือ ไฮโดรคาร์บอน CH(炭化水素)
เมื่อถูกเผาไหม้จะเกิดปฏิกริยาทางเคมีฯ
C + O2 = CO2 ก็าซคาร์บอนไดออกไซด์
อ้างอิง: เรื่องเล็กๆ
แต่ก็อยากให้เข้าใจกันก่อนว่า 酸化(Oxidation) มันคืออะไร
คือ ปฏิกริยาทางเคมีที่สสารสูญเสียอิเล็กตรอนหรือสูญเสียไฮโดรเจนไป
หรือการที่สสารรวมตัวเข้ากับออกซิเจน(化合)
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนย้ายได้ทั้งในรูปของอิเล็กตรอนโดยตรงหรือ
เคลื่อนย้ายในรูปของออกซิเจนหรือไฮโดรเจน
ยกตัวอย่างเช่น
1.การเกิดสนิม (Fe2O3)
2.การเผาไหม้ของไม้ ถ่านหิน ปิโตเลียม (สารประกอบอินทรีย์ 有機化合物)
มีองค์ประกอบธาตุหลัก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน หรือ ไฮโดรคาร์บอน CH(炭化水素)
เมื่อถูกเผาไหม้จะเกิดปฏิกริยาทางเคมีฯ
C + O2 = CO2 ก็าซคาร์บอนไดออกไซด์
Wednesday, July 15, 2020
กากของเสีย(โรงหล่อ)#2
การกำจัดทรายเก่า 廃砂の処理
ด้านการจัดการคือ
1) เราต้องมีการคัดแยก 分別徹底
2) เราต้องมีการป้องกันการปะปน 異物混入の防止
สำหรับวิธีการจะมี 3ข้อหลักๆดังนี้
1) นำไปใช้ประโยชน์ 有効活用 เช่น นำไปใช้เป็น
- セメント原料
- 道路用骨材(路盤材、アスファルト混合材)
-土壌改良 ปรับปรุงดิน
-れんが原料
2) นำไปRecycle 再生
3) ฝังกลบ 埋立処理
ด้านการจัดการคือ
1) เราต้องมีการคัดแยก 分別徹底
2) เราต้องมีการป้องกันการปะปน 異物混入の防止
สำหรับวิธีการจะมี 3ข้อหลักๆดังนี้
1) นำไปใช้ประโยชน์ 有効活用 เช่น นำไปใช้เป็น
- セメント原料
- 道路用骨材(路盤材、アスファルト混合材)
-土壌改良 ปรับปรุงดิน
-れんが原料
2) นำไปRecycle 再生
3) ฝังกลบ 埋立処理
กากของเสีย(โรงหล่อ)
วันนี้จะขอพูดถึง "กากของเสีย" (廃棄物)ที่มาจากโรงหล่อ
พะเอินทำงานอยู่โรงหล่อก็เลยอยากจะอธิบายให้ฟัง มีหลักๆดังนี้
1. 廃砂 はいすな ทรายเก่า(ถูกใช้แล้ว)
- เกิดจากทรายที่Overflow (余剰砂 よじょうすな)จากระบบผสมทราย
เนื่องจากมีการเติมทรายใหม่ (新砂 しんすな)
- เกิดจากกระบวนการ Shotblast (ทำความสะอาดทรายที่ติดอยู่ที่ผิวงาน) 持出し砂
ทรายส่วนนี้จะมีเหล็ก(鉄分)ผสมอยู่ ซึ่งสามารถคัดแยกออกจากกันได้
โดยใช้แม่เหล็ก (磁選 じせん)
- เกิดจากทรายที่หกหล่นอยู่ตามพื้นในไลน์การผลิต (こぼれ砂)
2.スラグ(ノロ)กากตะกรันจากกระบวนการหลอม (Slag)
3.集塵ダスト ฝุ่นจากระบบDust Collector (集塵装置 しゅうじんそうち)
4.耐火物くず เศษจากวัตถุดิบทนไฟ
5.อื่นๆ เช่น เศษไส้แบบ (シェル殻 しぇるがら) ฯลฯ
つづく
พะเอินทำงานอยู่โรงหล่อก็เลยอยากจะอธิบายให้ฟัง มีหลักๆดังนี้
1. 廃砂 はいすな ทรายเก่า(ถูกใช้แล้ว)
- เกิดจากทรายที่Overflow (余剰砂 よじょうすな)จากระบบผสมทราย
เนื่องจากมีการเติมทรายใหม่ (新砂 しんすな)
- เกิดจากกระบวนการ Shotblast (ทำความสะอาดทรายที่ติดอยู่ที่ผิวงาน) 持出し砂
ทรายส่วนนี้จะมีเหล็ก(鉄分)ผสมอยู่ ซึ่งสามารถคัดแยกออกจากกันได้
โดยใช้แม่เหล็ก (磁選 じせん)
- เกิดจากทรายที่หกหล่นอยู่ตามพื้นในไลน์การผลิต (こぼれ砂)
2.スラグ(ノロ)กากตะกรันจากกระบวนการหลอม (Slag)
3.集塵ダスト ฝุ่นจากระบบDust Collector (集塵装置 しゅうじんそうち)
4.耐火物くず เศษจากวัตถุดิบทนไฟ
5.อื่นๆ เช่น เศษไส้แบบ (シェル殻 しぇるがら) ฯลฯ
つづく
Subscribe to:
Posts (Atom)